นั่งร้านและความปลอดภัย-กฏหมายและมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับนั่งร้าน

กฎกระทรวง ฉบับท ี่ 4 (พ.ศ. 2508) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 23 แหงพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้ ใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประกอบวิชาชีพควบคุมตามประเภท และสาขาที่ ไดระบ ุ ไวในใบอน ุญาต ภายในขอกําหนดและเงื่อนไข ดังตอไปนี้ 

 

สาขา 1 วิศวกรรมโยธา ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมใน สาขาว ิศวกรรมโยธาตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 3(พ.ศ. 2508) ออก ตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ไวดังตอไปนี้ ก. ภาคีวิศวกร 1. งานในสาขา 1 วิศวกรรมโยธา ตาม 1 (1) เฉพาะอาคารสามชั้น 2. งานในสาขา 1 วิศวกรรมโยธา ตาม 2 (1) ถึง (17) 3. งานในสาขา 1 วิศวกรรมโยธา ตาม 3 (1) ถึง (17) ข. สาม ั ญว ิ ศวกร งานในสาขา 1 วิศวกรรมโยธา ตาม 1,2,3 และ 4 ทั้งนี้ตั้งแต (1) ถึง (17) ค. วุฒิวิศวกร งานในสาขา 1 วิศวกรรมโยธาท ุ กอย  าง

กฎกระทรวง ฉบ ั บท ี่ 3 (พ.ศ. 2508) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 อาศ ั ยอ ํานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 6 แหงพระราชบ  ัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้ ใหกําหนดวิชาชีพวิศวกรรมในสาขาแขยงและขนาด ดังตอไปนี้เปนว ิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

สาขา 1 วิศวกรรมโยธา 1. งานออกแบบและค ํ านวณ หมายถึงการใชความรูในสาขาวิศวกรรมโยธา เพื่อให ไดมาซ  งรายละเอ ึ่ ียดในการกอสราง โดยแสดงเปนแบบรูป ขอกําหนด และประมาณการ 2. งานควบคมการก ุ  อสร  าง หมายถึงการอํานวยการควบค ุ มด ู แลการก  อสร  าง ในสาขา วิศวกรรมโยธา ใหเปนไปโดยถ  กต ู  องตามหล ั กว ิ ชาการแบบรูป และขอก ําหนด 3. งานพิจารณาตรวจสอบ หมายถึงการคนควาการวิเคราะหการทดสอบ การหา ขอม ู ลและสถิติตางๆเพื่อเปนหลักเกณฑประกอบการตรวจสอบวินิจฉัยงานในสาขา วิศวกรรมโยธา 4. งานวางโครงการกอสราง หมายถึงการวางแผนผังหรือการวางแผนงานการกอสราง ในสาขาวิศวกรรมโยธา 5. งานใหคําปรึกษา หมายถึงการใหขอแนะนําและหรอการตรวจสอบท ื ี่เกี่ยวกับงานใน สาขาว ิศวกรรมโยธาตาม 1,2,3, หรือ 4

 

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสร้าง วาดวยนั่งราน ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2525

สาระของกฎหมายประกาศกระทรวงมหาดไทย

นิยาม

หมวด 1 งานกอสราง

หมวด 2 แบบน ั่งราน  

หมวด 3 การสรางนั่งราน

หมวด 4 การใชนั่งราน

หมวด 5 นั่งรานมาตรฐาน

หมวด 6 การคุมครองความปลอดภัย

หมวด 7 มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัย

 

ขอ 4 ในประกาศนี้ “งานก่อสร้าง” หมายความวาการประกอบการเกี่ยวกับการกอสราง อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทาเรือ ทางน้ําถนน การโทรเลข โทรศัพทไฟฟา กาซ หรือประปา และหมายความรวมถ และหมายความรวมถึงการตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ ดวย “อาคาร” หมายความวา อาคารตามความหมายที่บัญญัติไวใน กฎหมายว  าดวยการควบคุมอาคาร

ข้อ 4 ในประกาศนี้ “นั่งราน” หมายความว หมายความวา ที่ปฏิบัติงานซึ่ ิบัติงานซึ่งจัดไวสูงจากพื้นดิน หรือส่วนของอาคาร หรือส่วนของงานก่อสร้าง สำหรับเป็นที่รองรับของผู้ปฏิบัติงาน และ หรือ วัสดุในงานการสร้างเป็นการชั่วคราว

"นั่งร้านเสาเรียงเดี่ยว" หมายความว่านั่งร้านซึ่งมีที่ปฏิบัติงานเป็นคานยึดติดกับเสาแถวเดี่ยว

 

ขอ 5 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้มิใหใชบังคับแก

(1)งานก  อสร  างอาคารท ี่ใชไมเปนสวนใหญและมีความสูงจากพื้นดิน ถึงคานรับหลังคา ไมเกิน 7.00 เมตร

(2) งานซ  อมแซม หร ื อตกแต  งอาคารโดยใชผูปฏิบัติงานคราวละไม เก ิ นสองคน

(3) งานติดตั้งประปา ไฟฟา หรืออุปกรณอื่นๆ โดยใชผูปฏิบัติงาน นั้นคราวละไมเกินสองคน

 

หมวด 2 แบบน ั่ งราน

ขอ 7 นั่งรานเสาเรียงเดี่ยวที่สูงเกิน 7.00 เมตรขึ้นไป หรือนั่งรานที่สูง เกิน 21.00 เมตรขึ้นไป นายจางตองจัดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผู ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว กําหนด เปนผูออกแบบ และกําหนดรายการละเอียดนั่งราน

 

ขอ 8 นั่งรานเสาเรียงเดียวที่สูงไมเกิน 7.00 เมตร หรือนั่งรานที่สูงไมเกิน 21.00 เมตร นายจางตองจัดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบ วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว. กําหนด เปนผูออกแบบและกําหนด รายการละเอียดนั่งราน หรือจะใชตามนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ตามกําหนดในขอ 12 ก็ได

 

ขอ 9ในกรณีที่นายจางจะใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบ วิชาชีพวิศวกรรมควบค ุ มท ี่ ก.ว.กําหนด เปนผูออกแบบและกําหนด รายการละเอ ี ยดน ั่ งร  าน อย  างน  อยต องเปนไปตามขอกําหนดดังตอไปนี้

(1) นั่งรานที่สรางดวยไมตองใชไมที่ไมผุเปอย ไมมีรอยแตกราวหรือชํารุดอื่นๆ ที่จะทําใหไมขาดความแข็งแรงทนทาน และจะตองมีหนวยแรงดัดประลัย (Ultimate Bending Stress) ไมนอยกวา 500 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตรและมี สวนปลอดภัยไมนอยกวาสี่เทาของแรงดัดประลัย เวนแตไมที่ใชเปนไมไผตองมี หล ักฐานเอกสารในการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุที่จะใชจากสถาบันที่ทาง ราชการเช ื่ อถ ือไดมีสวนปลอดภัยเพียงพอและใหเปนไปตามที่กําหนดไวในขอ 11 (6)

ถาสรางดวยโลหะตองเปนโลหะที่มีจุดคราก (Yield Point) ไมนอยกวา 2,400 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสองเทาของจุด คราก

 

(2) นั่งรานตองสามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดไมนอยกวาสองเทา ของน ้ํ าหน ั กแห งการใชงานสําหรับนั่งรานที่สรางดวยโลหะและ ไมนอยกวาสี่เทาของน้ําหนักแหงการใชงานสําหรับนั่งรานที่ สรางดวยไม

(3) ที่รองรับนั่งรานตองมีความมั่นคงแข็งแรง สามารถรับ น้ําหนักบรรท ุ กไดไมนอยกวาสองเทาของน้ําหนักแหงการใช งาน

(4) โครงนั่งรานตองมีการยึดโยงค้ํายันหรือตรึงกับพื้นดิน หรือ สวนของงานกอสราง เพื่อปองกันมิใหเซหรือลม

(5) ตองมีราวกันตกมีความสูงไมนอยกวา 90 เซนติเมตรและไมเกิน 1.10 เมตร จากพ ื้ นน ั่ งร  าน ตลอดแนวยาวด  านนอกของพ ื้ นน ั่ งร  าน นอกจาก เฉพาะช  วงที่จําเปนเพื่อขนถายสิ่งของยกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว

(6) ตองจัดใหมีพื้นนั่งรานปูติดตอกันมีความกวางไมนอยกวา 35 ซม. ยึด กับตงใหแนน ยกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว

(7) ตองจัดใหมีบันไดภายในของนั่งราน โดยใชไมหรือโลหะ มีความเอียง ลาดไมเกิน 45 องศายกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว

(8) ตองออกแบบเผื่อไวใหนั่งรานสามารถรับน้ําหนักผาใบ สังกะสีไม แผน หรือวัสดุอื่นที่คลายกนตามท ั ี่กําหนดไวในขอ 10 และขอ 11 (7) ดวย

 

หมวด 5 นั่งรานมาตรฐาน

 

ขอ 12 นั่งรานที่สูงไมเกิน 21.00 เมตรและนายจางมิไดใหผูที่ ไดรับใบอน ุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามท ี่ ก.ว.กําหนดเปนผูออกแบบนั่งราน นายจางตองจัดทํา นั่งรานใหเปนไปตามขอกําหนดตามที่ระบ ุ ไวในขอ 9 และขอ 10 กับขอกําหนดสําหรับนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ดัง ตอไปนี้

 

กรณีไม่มีวิศวกรเป็นผู้ออกแบบ ใหสรางตามข้อกำาหนดนี้

นั่งรานแบบนี้รับน้ําหนักไมเกิน 150 กก/ตารางเมตร

1.) กรณีใชไมไผ 

• เสนผาศูนยกลางเฉลี่ยไมต่ํากวา 6 ซม.

• การต  อทาบ ระยะต อทาบไมนอยกวา 1 เมตร

• ขันชะเนาะอยางนอย 2 เปาะดวยเชือกหรือปอเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 2 ซม.

• ตั้งเสาหางกันไมเกิน 1.50 เมตรผูกติดกับคานไมไผทุกตน เปนสองแนว 

• ระยะห  างระหว  างคูเสาอยูระหวาง 50- 79 ซม. โดยใชคานไมไผผูกติดระหวางเสาทงสองด ั้ าน

• ตองใหใชไมขนาดหนาตัด 24 ตร.ซม.(ตง) ผูกติดกับคานไมไผระยะหางไมเกิน 50 ซม.

• พื้นไมหนาไมนอยกวา 2 ซม

• ใชไมทแยงม ุ มเปน 45 องศา สลับฟนปลาผูกยึดใหแนน

• ผูกยึดนั่งร้านเข้ากับอาคารใหแข็งแรงหรือค้ํายันยึดนั่งรานกับสมอฝงดินระยะหางไมเกิน 4.50 เมตร

• ความสูงนั่งร้านแต่ละชั้นไมเกิน 2.00 เมตร

• ราวกันตกสูงระหว่าง 0.90 – 1.10 เมตร

 

นั่งรานสูงไมเกิน 12.00 เมตร (สําหรับงานกอสราง ) นั่งรานแบบนี้รับน้ําหนักไดไมเกิน 150 กก/ตารางเมตร

 

o ตองใชไมพื้นที่หนาตัด 33 ตร.เมตร หนาแคบไมนอยกวา 3 ซม. และ (ขนาดมาตรฐานในทองตลาดประมาณ 1 ½“ x 4" )

o ตั้งเสาหางกันไมเกิน 2.00 เมตร โดยตั้งเปน 2 แถว ระยะหาง ระหว  างเสาตองหางกัน 50 – 75 ซม. และเสาตองตั้งอยูในแนวดิ่ง การตอเสาตองตอชน ไมทาบตองมีหนาตัดเทากับขนาดเสา

 

นั่งรานส ู งไมเกิน 12.00 เมตร (สําหรับงานกอสราง ) นั่งรานแบบนี้รับน้ําหนักไดไมเกิน 150 กก/เมตร2

o คานไมพื้นที่หนาตัดอยางนอย 33 ตร.ซม. หนาแคบไมนอยกวา 3 ซม. หน  ากว างไมนอยกวา 9 ซม. (ประมาณ 1 ½“ x 4")ระยะหางระหวางชั้น ของคานไมเกิน 2.00 เมตรการตอคานใหทําที่เสา, โดยยึดกับเสาและมีพุ กร ั บท ุ กเสา

o ตงไมพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตร.ซม. หนาแคบไมนอยกวา 3 ซม. ระยะห างของตงเปน 50 ซม. โดยมีปลายยื่น 10 ซม.ใหยึดตง เขากับคาน ไมทุกแหง

 

นั่งรานส ู งไมเกิน 12.00 เมตร (สําหรับงานกอสราง ) นั่งรานแบบนี้รับน้ําหนักไดไมเกิน 150 กก/เมตร2

 

o ค้ํายันไมใชขนาดเดียวกับตงไมยึดสลับฟนปลาเปน 45 องศาถึง 60 องศา o พื้นนั่งราน เปนไมหนาอยางนอย 2 ซม.

o อุปกรณยึดอาจเปนตะปูหรือ สลักเกลียว

o การย ึ ดเข  าก ั บอาคาร ใชเหล็กเสนกลมขนาด 6 มม. ยาวประมาณ 30 ซม. ฝงไว ในคอนกรีตท ุกๆ ระยะ 2.00 เมตร พรอมกับทําค้ํายันปองกันการลม

o จัดทําบันไดขึ้น-ลง ภายในนั่งรานใชไมหนาเเคบไมนอยกวา 3 ซม. หนากวาง ไมนอยกวา 7 ซม. ตีเปนขั้นบันไดระยะล ู กข ั้นประมาณ 50 ซม.

o จัดทําราวกันตกสูงระหวาง 90-110 ซม

 

นั่งรานสงไม ู  เกิน 21 เมตร (สําหรับงานกอสราง)

 

ใหกอสรางตาม นั่งรานส ู งไมเกิน 12.00 เมตร (สําหรับงานกอสราง) เวนแตเสาไมสี่เหลี่ยมตอง มีหนาแคบไมนอยกวา 7 ซม. ระยะหางระหวาง เสา ไมเกิน 1.50 เมตร

 

อ้างอิงข้อมูลจาก "http://www.scafftag-sp.com/home/images/stories/files/01.rsc-law.pdf"